เมนู

[147] 19. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก วิตก
ย่อมเกิดขึ้น.
[148] 20. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ขันธ์ที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[149] 21. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ขันธ์ที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

3. อธิปติปัจจัย


[150] 1. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรม
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา. กระทำกุศลกรรมที่ตนสั่งสม
ดีแล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมพิจารณา.
ออกจากฌาน ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ
ออกจากผลแล้ว กระทำผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[151] 2. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรมแล้ว การทำกุศลกรรม
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลกระทำกุศลกรรมที่ตนสั่งสมไว้ดีแล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ออกจากฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ
ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผลแล้ว กระทำผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้วพิจารณา ครั้นกระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย.
[152] 3. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

อย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
[153] 4. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[154] 5. วิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก และจิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[155] 6. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็นอารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรม
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลกระทำกุศลกรรมที่ตนสั่งสมไว้ดีแล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้น
กระทำฌานเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
วิจารธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และวิตก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[156] 7. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยและสวิตักกสวิจาร-
ธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[157] 8. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลออกจากฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้น
การทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์และวิตกนั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[158] 9. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลออกจากฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้น
กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิตก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์
และวิตกนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[159] 10. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[160] 11. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[161] 12. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ครั้น
กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิตก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์
และวิตกนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
[162] 13. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และ
วิจาร ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[163] 14. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ ออก
จากมรรค ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว
พิจารณา ครั้นการทำฌานเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอริยะทั้งหลาย การทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้วพิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งจักษุให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำซึ่งโสตะ ฆานะ
ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ
โสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[164] 15. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ ออก
จากมรรค ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว
พิจารณา ครั้นกระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก
ย่อมเกิดขึ้น.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิตก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมและวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำโสตะเป็นต้น นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น
[165] 16. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[166] 7. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลาย ออกจากฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ ออก
จากมรรค ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว
พิจารณา ครั้นกระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมและวิตก ย่อมเกิดขึ้น,
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน การทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น แล้วพิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน และแก่วิตก แก่มรรคที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และแก่วิตก แก่ผลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และแก่
วิตก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งจักษุให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ครั้นกระทำโสตะเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
[167] 18. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อวิตักกอวิจารธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น เพราะกระทำขันธ์ที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรมและวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
[168] 19. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
วิตก เกิดขึ้น เพราะการทำขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
[169] 20. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น เพราะกระทำ
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
[170] 21. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น เพราะกระทำขันธ์ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.

[171] 22. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
วิตก เกิดขึ้น เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
[172] 23. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เกิดขึ้น เพราะกระทำขันธ์
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.

4. อนันตรปัจจัย


[173] 1. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม.